Photo : innovation.verizon
"โนเกีย"พร้อมขยายโครงข่าย 4G ย้ำประมูล 4G ดันจีดีพีไทยโต 2.3 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ นายแดนเนียล มาวซูฟ หัวหน้าฝ่ายการตลาด และสื่อสารองค์กร ประจำภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และญี่ปุ่น โนเกีย เน็ตเวิร์คส์ เปิดเผยว่า การประมูล 4G บนคลื่น 900 และ 1800 MHz เดือน พ.ย.นี้จะช่วยให้จีดีพีของประเทศมาจากอุตสาหกรรมไอซีทีเติบโตขึ้น 23,000 ล้านเหรียญสหรัฐ (8.2 แสนล้านบาท) ภายในปี 2563 ตามข้อมูลการศึกษาของสมาคมจีเอสเอ็มเอ จากการลงทุนโครงข่ายของผู้ชนะประมูล รวมถึงอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องอื่นที่จะนำเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจของ ตนเอง
โนเกีย(Nokia) ย้ำการประมูลคลื่น 900 และ 1800 MHz มีส่วนสำคัญที่ทำให้อุตสาหกรรมโทรคมนาคมมีประสิทธิภาพมากขึ้น และ"โนเกีย"พร้อมขยายโครงข่าย 4G ปัจจุบันการใช้ข้อมูล (Data) เติบโตรวดเร็วสวนทางเสียง (Voice) จากความต้องการในการใช้โมบายอินเทอร์เน็ตของผู้บริโภค และอุตสาหกรรมต่าง ๆ ซึ่งบริการ 4G บน 2 ความถี่ตอบโจทย์ได้ด้วยความเร็วที่มากกว่า 3G ถึง 10 เท่าตัว ทำให้ความหน่วงของสัญญาณลดลงจนการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ด้วยกัน (M2M) ดีขึ้น หากเราดูภาพวิดิโอบนมือถือสมาร์ทโฟนจากกล้อง IP Camera ก็จะได้ภาพต่อเนื่องรวดเร็วและชัดเจนอีกด้วย เป็นต้น
ถ้าไล่ตั้งแต่ 3G เป็นการใช้โมบายอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น(Mobile Internet) 4G เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพความเร็ว และ 5G ลดความหน่วงของสัญญาณเพื่อใช้งานระหว่างอุปกรณ์ เช่น รถยนต์ที่ขับเองได้ หรือการบริหารจราจรอัจฉริยะ 5G ตอบโจทย์สมาร์ทซิตี้ด้วย ทำให้การสั่งการต่าง ๆ เกิดขึ้นได้ทันที แต่ในไทยต้องรออีกระยะเพราะโอเปอเรเตอร์เพิ่งลงทุน 3G เมื่อ 3 ปีก่อน ปีนี้โอเปอเรเตอร์และ"โนเกีย"พร้อมขยายโครงข่าย 4G
ด้านนายฮาราลด์ ไพรซ์ หัวหน้ากลุ่มธุรกิจเน็ตเวิร์ก ประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โนเกีย เน็ตเวิร์คส์กล่าวว่า อยู่ระหว่างควบรวมกิจการกับ "อัลคาเทล-ลูเซ่น" คาดว่าจะเสร็จในครึ่งแรกของปี 2559 ทำให้บริษัทเป็นผู้ให้บริการและจำหน่ายอุปกรณ์โทรคมนาคมทุกรูปแบบ ต้นปีหน้ารุกขยายตลาดบริการครบวงจร ย่ำ"โนเกีย"พร้อมขยายโครงข่าย 4G กับโอเปอเรเตอร์ทุกราย
เมื่อโนเกีย(Nokia)รวมกับอัลคาเทลฯ ก็จะกลายเป็น 1 ใน 2 ซัพพลายเออร์ด้านโมบายเน็ตเวิร์ก(Mobile Network), ฟิกซ์เน็ตเวิร์ก(Fixed Network), ไอพี-ออฟติคอลเน็ตเวิร์ก(IP Optical Network)ที่ได้มาจากอัลคาเทลฯและแอปพลิเคชั่นกับระบบวิเคราะห์ข้อมูลที่ พัฒนาร่วมกันในชื่อ Nokia Ad Analytics ทั้งหมดจะเข้ามาทำตลาดในไทย "โนเกีย"พร้อมขยายโครงข่าย 4G รองรับการนำข้อมูลที่มีมาใช้โดยวิเคราะห์แบบบิ๊กดาต้าเป็นเรื่องที่สำคัญ
สำหรับ ในประเทศไทยมีเอไอเอสเป็นลูกค้าหลักส่วนรายอื่นก็ใช้แต่น้อยกว่า หลังประมูล 4G เสร็จ"โนเกีย"พร้อมขยายโครงข่าย 4G ก็จะเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของผู้ชนะประมูลเพื่อช่วยพัฒนาโครงข่ายให้มี ประสิทธิภาพทั้งโมบายและฟิกซ์เน็ตเวิร์ก
ส่วนการเป็นพันธมิตรกับ บมจ.ทีโอทีเพื่อขยายโครงข่าย 3G บนคลื่น 2100 MHz ระยะที่ 2 ต้องรอความชัดเจนจากพันธมิตร หลังขยายโครงข่ายระยะแรกในกรุงเทพฯ ถ้าพันธมิตรมีข้อเสนอที่ดี "โนเกีย"พร้อมขยายโครงข่าย 4G เพราะตลาดประเทศไทยมีโอกาสอีกมากจากจำนวนเลขหมายโทรศัพท์มือถือที่มีมากกว่า 100 ล้านเลขหมาย มีการใช้ดาต้าเพิ่มขึ้น 165% ภายในปี 2563 เทียบกับปี 2558
นายฮาราลด์กล่าวต่อว่า ปัจจุบันเริ่มมีการทดลอง 5G บนคลื่น 1800 MHz และ 2600 MHz ในศูนย์วิจัยและพัฒนาที่ฟินแลนด์ และผู้ให้บริการในเกาหลีใต้และญี่ปุ่นได้ความเร็วที่ 10 Mbps และความหน่วงของสัญญาณเพียง 1 มิลลิวินาที ตอบโจทย์การใช้งาน M2M และบริการยุค IoT (Internet of Things) ทำให้ทุกอย่างเชื่อมต่อกันได้อย่างไร้รอยต่อที่สุด คาดว่า 5G จะให้บริการแพร่หลายในปี 2563
Cr.ประชาชาติธุรกิจ
"โนเกีย"พร้อมขยายโครงข่าย 4G ย้ำประมูล 4G ดันจีดีพีไทยโต 2.3 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ นายแดนเนียล มาวซูฟ หัวหน้าฝ่ายการตลาด และสื่อสารองค์กร ประจำภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และญี่ปุ่น โนเกีย เน็ตเวิร์คส์ เปิดเผยว่า การประมูล 4G บนคลื่น 900 และ 1800 MHz เดือน พ.ย.นี้จะช่วยให้จีดีพีของประเทศมาจากอุตสาหกรรมไอซีทีเติบโตขึ้น 23,000 ล้านเหรียญสหรัฐ (8.2 แสนล้านบาท) ภายในปี 2563 ตามข้อมูลการศึกษาของสมาคมจีเอสเอ็มเอ จากการลงทุนโครงข่ายของผู้ชนะประมูล รวมถึงอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่องอื่นที่จะนำเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจของ ตนเอง
โนเกีย(Nokia) ย้ำการประมูลคลื่น 900 และ 1800 MHz มีส่วนสำคัญที่ทำให้อุตสาหกรรมโทรคมนาคมมีประสิทธิภาพมากขึ้น และ"โนเกีย"พร้อมขยายโครงข่าย 4G ปัจจุบันการใช้ข้อมูล (Data) เติบโตรวดเร็วสวนทางเสียง (Voice) จากความต้องการในการใช้โมบายอินเทอร์เน็ตของผู้บริโภค และอุตสาหกรรมต่าง ๆ ซึ่งบริการ 4G บน 2 ความถี่ตอบโจทย์ได้ด้วยความเร็วที่มากกว่า 3G ถึง 10 เท่าตัว ทำให้ความหน่วงของสัญญาณลดลงจนการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ด้วยกัน (M2M) ดีขึ้น หากเราดูภาพวิดิโอบนมือถือสมาร์ทโฟนจากกล้อง IP Camera ก็จะได้ภาพต่อเนื่องรวดเร็วและชัดเจนอีกด้วย เป็นต้น
ถ้าไล่ตั้งแต่ 3G เป็นการใช้โมบายอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น(Mobile Internet) 4G เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพความเร็ว และ 5G ลดความหน่วงของสัญญาณเพื่อใช้งานระหว่างอุปกรณ์ เช่น รถยนต์ที่ขับเองได้ หรือการบริหารจราจรอัจฉริยะ 5G ตอบโจทย์สมาร์ทซิตี้ด้วย ทำให้การสั่งการต่าง ๆ เกิดขึ้นได้ทันที แต่ในไทยต้องรออีกระยะเพราะโอเปอเรเตอร์เพิ่งลงทุน 3G เมื่อ 3 ปีก่อน ปีนี้โอเปอเรเตอร์และ"โนเกีย"พร้อมขยายโครงข่าย 4G
ด้านนายฮาราลด์ ไพรซ์ หัวหน้ากลุ่มธุรกิจเน็ตเวิร์ก ประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โนเกีย เน็ตเวิร์คส์กล่าวว่า อยู่ระหว่างควบรวมกิจการกับ "อัลคาเทล-ลูเซ่น" คาดว่าจะเสร็จในครึ่งแรกของปี 2559 ทำให้บริษัทเป็นผู้ให้บริการและจำหน่ายอุปกรณ์โทรคมนาคมทุกรูปแบบ ต้นปีหน้ารุกขยายตลาดบริการครบวงจร ย่ำ"โนเกีย"พร้อมขยายโครงข่าย 4G กับโอเปอเรเตอร์ทุกราย
เมื่อโนเกีย(Nokia)รวมกับอัลคาเทลฯ ก็จะกลายเป็น 1 ใน 2 ซัพพลายเออร์ด้านโมบายเน็ตเวิร์ก(Mobile Network), ฟิกซ์เน็ตเวิร์ก(Fixed Network), ไอพี-ออฟติคอลเน็ตเวิร์ก(IP Optical Network)ที่ได้มาจากอัลคาเทลฯและแอปพลิเคชั่นกับระบบวิเคราะห์ข้อมูลที่ พัฒนาร่วมกันในชื่อ Nokia Ad Analytics ทั้งหมดจะเข้ามาทำตลาดในไทย "โนเกีย"พร้อมขยายโครงข่าย 4G รองรับการนำข้อมูลที่มีมาใช้โดยวิเคราะห์แบบบิ๊กดาต้าเป็นเรื่องที่สำคัญ
สำหรับ ในประเทศไทยมีเอไอเอสเป็นลูกค้าหลักส่วนรายอื่นก็ใช้แต่น้อยกว่า หลังประมูล 4G เสร็จ"โนเกีย"พร้อมขยายโครงข่าย 4G ก็จะเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของผู้ชนะประมูลเพื่อช่วยพัฒนาโครงข่ายให้มี ประสิทธิภาพทั้งโมบายและฟิกซ์เน็ตเวิร์ก
ส่วนการเป็นพันธมิตรกับ บมจ.ทีโอทีเพื่อขยายโครงข่าย 3G บนคลื่น 2100 MHz ระยะที่ 2 ต้องรอความชัดเจนจากพันธมิตร หลังขยายโครงข่ายระยะแรกในกรุงเทพฯ ถ้าพันธมิตรมีข้อเสนอที่ดี "โนเกีย"พร้อมขยายโครงข่าย 4G เพราะตลาดประเทศไทยมีโอกาสอีกมากจากจำนวนเลขหมายโทรศัพท์มือถือที่มีมากกว่า 100 ล้านเลขหมาย มีการใช้ดาต้าเพิ่มขึ้น 165% ภายในปี 2563 เทียบกับปี 2558
นายฮาราลด์กล่าวต่อว่า ปัจจุบันเริ่มมีการทดลอง 5G บนคลื่น 1800 MHz และ 2600 MHz ในศูนย์วิจัยและพัฒนาที่ฟินแลนด์ และผู้ให้บริการในเกาหลีใต้และญี่ปุ่นได้ความเร็วที่ 10 Mbps และความหน่วงของสัญญาณเพียง 1 มิลลิวินาที ตอบโจทย์การใช้งาน M2M และบริการยุค IoT (Internet of Things) ทำให้ทุกอย่างเชื่อมต่อกันได้อย่างไร้รอยต่อที่สุด คาดว่า 5G จะให้บริการแพร่หลายในปี 2563
Cr.ประชาชาติธุรกิจ